外媒声音

    新冠病毒结束后的泰国花卉出口前景

    作者:  时间:2020-08-30 21:30  浏览:

    国际贸易谈判部前往清迈地区,研究在新冠病毒结束后的泰国装饰花卉和花卉的可能性和可行性。泰国出口减缓,而UPOP1991的改良者指出,泰国的新品种在世界市场上得到了保护。

    泰国出口花木装饰和木材品种到2009年,价值132.7亿美元,泰国的主要出口市场是美国,占整个花木产品出口总额的22 % 。其次是日本,占市场份额16 % ,而越南则占15 %的市场份额, 是东盟的第一大出口市场。欧洲占14 %的市场份额,其中荷兰是第1大出口市场,而韩国则被泰国重要的出口产品占6 % 。泰国出口的主要产品有兰花,西兰花,花,枝叶,树,兰花,藤本和玫瑰。

    泰国是世界第11大出口商。在亚洲排名第三,如果只算鲜切花,泰国在世界排名第六,但泰国兰花出口在世界排名第二,仅次于荷兰, 泰国进口的观赏植物价值4480万美元。主要进口市场为中国、东盟、欧盟、阿联酋、乌克兰,进口观赏花、康乃馨、玫瑰、百合花、菊花等花卉。

    但是发生了新冠疫情的情况 ,使泰国的花木装饰出口额下降。在2020年1月至6月上半叶,泰国的装饰木和木制品产品的4680万美元,比2019年同期下降31%。对泰国主要市场的大部分出口都收缩了。 美国的出口额为871万美元,同比下降了46%;日本的出口额为838万美元,同比下降了17%;欧盟出口了567万美元,同比下降了40%;韩国的出口额为336万美元,同比下降了31%。

    商务部国际贸易谈判部根据皇家倡议进入清迈省杭东区的万莱种植园服务中心,与研究人员和花农进行讨论并利用自由贸易协定或FTA为COVID-19问题解决后的情况做准备。国际贸易谈判司司长Oramon Subthawitham女士表示,受COVID-19危机影响,全球市场对鲜花的需求趋势将继续放缓。这在许多国家无法控制,导致旅游业、会议、研讨会和活动中断,以及对装饰场地以举办各种活动的观赏花卉的需求随之收缩。

    泰国观赏花卉产品仍有较大的出口潜力和市场拓展潜力。由于泰国拥有肥沃的景观、良好的气候标准生产的优势,此外,泰国有能力根据市场需求开发新的美丽的花卉植物,

    重要的是,泰国有一个与税收相关的自由贸易协定。为了帮助解除贸易限制,尤其是关税,所有销往东盟、日本、韩国、中国等17个自由贸易伙伴国家的泰国装饰花卉产品都无需缴纳进口关税。只有印度对进口某些观赏花卉产品,如玫瑰和插枝、苔藓和地衣等,保留了5%的税率,兰花等保留了60%的税率。

    在这段时间里,是研究人员开发新品种的时候,泰国将加快新型花卉植物的开发,因为花卉是一种时尚产品,需要根据市场需求不断开发。包括利用税收,渗透到泰国签署自由贸易协定的国家的出口市场。”

    希望政府帮助寻找出口市场,让农民在外贸博览会上组织摊位,因为这将有助于有更多的客户或组织一个商业配对论坛,使农民有更多的销售和加速发展的品种是非常多样化的花Pathumma是一种销量很好的花,因为它看起来就像一个荷兰郁金香”

    虽然COVIC-19会影响观赏花卉的出口。这导致泰国今天上半年的出口下降。但泰国的装饰性花卉产品由于其美丽的品质,在世界市场上仍有很高的需求。由于在自由贸易协定的帮助下,它已经发展成为市场上的需求,泰国有机会在未来进一步扩大花卉贸易。

    กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ลงพื้นที่เชียงใหม่ ศึกษาโอกาสและความเป็นไปได้ของไม้ดอกไม้ประดับและพันธุ์ไม้ของไทยหลังโควิด-19 พ่นพิษ ส่งออกไทยชะลอ ขณะที่นักปรับปรุงพันธุ์หนุนเข้า UPOP 1991 ชี้ ทำให้พันธุ์ใหม่ของไทยได้รับการคุ้มครองในตลาดโลก

    ไทยส่งออกไม้ดอกไม้ประดับและพันธุ์ไม้ในปี 2562 มีมูลค่า 132.7 ล้านดอลลาร์ ตลาดส่งออกหลักของไทย คือสหรัฐ ซึ่งมีส่วนแบ่งตลาด 22 % ของการส่งออกสินค้าไม้ดอกและไม้ประดับทั้งหมดของไทย ตามมาด้วยญี่ปุ่น ส่วนแบ่งตลาด 16 % ขณะที่เวียดนาม มีส่วนแบ่งตลาด 15 % ซึ่งถือเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับ 1 ของอาเซียน สหภาพยุโรป ส่วนแบ่งตลาด 14 % มีเนเธอร์แลนด์ เป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับ1 และเกาหลีใต้ ส่วนแบ่งตลาด 6 % โดยสินค้าส่งออกสำคัญของไทย ได้แก่ ดอกกล้วยไม้ ต้นกล้วยไม้ ไม้ใบประดับ ต้นกล้ากิ่งซำกล้วยไม้ หัวปทุมมา และกุหลาบ

    ทั้งนี้ไทยเป็นผู้ส่งออกอันดับที่ 11 ของโลก เป็นอันดับ 3 ในเอเชีย หากนับเฉพาะการส่งออกไม้ตัดดอกไทยเป็นอันดับ 6 ของโลก แต่เฉพาะดอกกล้วยไม้ไทยส่งออกเป็นอันดับ 2ของโลกรองจากเนเธอร์แลนด์ ขณะที่ไทยนำเข้า ไม้ดอกไม้ประดับและพันธุ์ไม้มีมูลค่า 44.8 ล้านดอลลาร์ ตลาดนำเข้าหลัก คือจีน อาเซียน สหภาพยุโรป สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ยูเครน โดยดอกไม้ที่นำเข้าเป็นไม้ดอกไม้ประดับ คาเนชั่น กุหลาบ ลิลลี่ เบญจมาศ และดอกไม้อื่นๆ

    แต่สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่เกิดขึ้น ทำให้ยอดส่งออกไม้ดอกไม้ประดับของไทยลดลง โดยในช่วงครึ่งแรกเดือนม.ค.-มิ.ย. ของปี 2563 มูลค่าการส่งออกสินค้าไม้ดอกไม้ประดับและพันธุ์ไม้ของไทยอยู่ที่ 46.8 ล้านดอลลาร์ ลดลง 31% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2562 โดยการส่งออกไปตลาดหลักของไทยส่วนใหญ่หดตัว ทั้งสหรัฐส่งออก 8.71 ล้านดอลลาร์ หดตัว 46% ญี่ปุ่น ส่งออก 8.38 ล้านดอลลาร์ หดตัว 17% สหภาพยุโรป ส่งออก 5.67 ล้านดอลลาร์ หดตัว 40% และเกาหลีใต้ ส่งออก 3.36 ล้านดอลลาร์ หดตัว 31%

    กระทรวงพาณิชย์ โดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ได้ลงพื้นที่ศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อ.หางดง จ.เชียงใหม่ เพื่อหารือนักวิจัยพัฒนาพันธุ์ และเกษตรกรผู้ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ และการใช้ประโยชน์จากความตกลงการค้าเสรี หรือเอฟทีเอ เพื่อเตรียมความพร้อมเมื่อสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลาย

    นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กล่าวว่า คาดว่าแนวโน้มความต้องการไม้ดอกไม้ประดับในตลาดโลกจะยังคงชะลอตัวเนื่องจากวิกฤติโควิด-19 ที่ยังไม่สามารถคุมได้ในหลายประเทศ ทำให้การท่องเที่ยว การจัดประชุม สัมมนา การจัดงานกิจกรรมต่างๆ หยุดชะงัก และความต้องการใช้ไม้ดอกไม้ประดับในการตกแต่งสถานที่สำหรับกิจกรรมต่างๆ หดตัวตามไปด้วย

    อย่างไรก็ตามเชื่อมั่นว่า สินค้าไม้ดอกไม้ประดับของไทยยังมีศักยภาพในการส่งออกและขยายตลาดเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากไทยมีจุดได้เปรียบจากภูมิประเทศที่อุดมสมบูรณ์ สภาพภูมิอากาศที่ดี การผลิตที่มาตรฐาน นอกจากนี้ไทยมีความสามารถพัฒนาพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับใหม่ๆที่มีความสวยงามและเป็นที่ต้องการของตลาด

    ที่สำคัญการที่ไทยมีเอฟทีเอด้านภาษี ที่ช่วยปลดล็อคข้อจำกัดทางการค้าต่างๆโดยเฉพาะกำแพงภาษีศุลกากร ส่งผลให้สินค้าไม้ดอกไม้ประดับทุกรายการของไทยที่ส่งไปขายในประเทศคู่ค้าเอฟทีเอ 17 ประเทศ เช่น อาเซียน 9 ประเทศ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน เป็นต้าน ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า เหลือเพียงอินเดียที่ยังคงภาษีนำเข้าสินค้าไม้ดอกไม้ประดับบางรายการไว้ เช่น ดอกกุหลาบและกิ่งชำ มอสและไลเคน ในอัตราภาษีที่ 5% ดอกกล้วยไม้ในอัตราภาษีที่ 60% เป็นต้น

    “ในช่วงนี้ จึงเป็นช่วงที่นักวิจัยพัฒนาพันธุ์ของไทย จะเร่งพัฒนาพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับใหม่ๆ เนื่องจากดอกไม้เป็นสินค้าแฟชั่นที่ต้องมีการพัฒนาพันธุ์ใหม่อยู่เสมอตามความต้องการของตลาด รวมทั้งใช้ข้อได้เปรียบทางภาษีโดยเจาะตลาดส่งออกไปยังประเทศที่ไทยมีความตกลงเอฟทีเอด้วย”

     อยากให้ภาครัฐช่วยหาตลาดส่งออก การนำเกษตรกรไปจัดบูธในงานแสดงสินค้าในต่างประเทศ เพราะจะช่วยให้มีลูกค้ามากขึ้น หรือจัดเวทีจับคู่ธุรกิจ ซึ่งจะทำให้เกษตรกรก็มียอดขายมากขึ้น และเร่งพัฒนาพันธุ์ให้มีความหลากหลายมาก ซึ่งดอกไม้ปทุมมาถือว่าเป็นดอกไม้ที่มีโอกาสขายได้มาก เพราะลักษณะคล้ายกับดอกทิวลิปของเนเธอร์แลนด์ ”

    แม้โควิค-19 จะกระทบต่อการส่งอออกสินค้าไม้ดอกไม้ประดับ ทำให้ยอดการส่งออกของไทยลดลงในครึ่งปีแรกของวันนี้ แต่สินค้าไม้ดอกไม้ประดับของไทยก็ยังเป็นที่ต้องการของตลาดโลกด้วยคุณสมบัติสวย หลากหลายสายพันธุ์ เพราะได้รับการพัฒนาพันธุ์จนเป็นที่ต้องการของตลาด ประกอบกับมีเอฟทีเอเป็นตัวช่วยก็ทำให้ไทยมีโอกาสที่จะขยายการค้าดอกไม้ได้เพิ่มขึ้นอีกในอนาคต

    新闻来源:https://www.bangkokbiznews.com/

    新闻编译:陈雯欣